ยินดีต้อนรับเข้าสู่เชียงใหม่
นิวโรฟีดแบค
BLOG
ความล่าช้าทางภาษาในเด็กวัยหัดเดิน
กันยายน 23rd, 2020ลูกค้าคนแรก พูดช้า
กันยายน 10th, 2020นิวโรฟีดแบคช่วยทำให้น้องพูดได้
กันยายน 6th, 2020จุดเริ่มต้นของ เชียงใหม่นิวโรฟีดแบคเซ็นเตอร์
กันยายน 6th, 2020บริการของเรา
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ นิวโรฟีดแบค
เราเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการเทรนสมองด้วยนิวโรฟีดแบค สําหรับวัตถุประสงค์หลายอย่าง เทรนสมองเพื่อให้มีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่นและสมดุลในการปรับปรุงฟังก์ชั่นและเพิ่ม ความชัดเจน การเทรนด้วยนิวโรฟีดแบค เป็นการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ที่ทําให้สมองทํางานได้ดีกว่าเดิม ด้วยนิวโรฟีดแบคเราสามารถดูกิจกรรมของสมองในเสี้ยววินาทีและให้รางวัลสําหรับพฤติกรรมที่ถูกต้อง,สมองจะทํางานดีกว่าเดิม วิธีนี้เป็นวิธีเรียนรู้ง่ายๆผ่านผลลัพธ์ ถ้าทําถูกต้องมีรางวัลให้ ทําให้เราอยากทําแบบนี้อีก
เกี่ยวกับเรา
ศูนย์เทรนสมอง เชียงใหม่ นิวโรฟีดแบค เราแนะนําวิธีการเทรนนิวโรฟีดแบค และไบโอฟีดแบค เพื่อช่วยลดอาการต่างๆในชีวิตประจําวัน เช่น ความเครียด และอาการต่างๆที่เกิดจาก ฟังก์ชั่นการทํางานของสมอง วิทยาศาสตร์ด้านสมองได้แนะนําเทคนิคและแนวทางใหม่ในการรักษานิวโรฟีดแบคเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีเทคนิคพิเศษทําให้การทํางานของสมองดีขึ้น โดยจัดระเบียบการทํางานของสมองใหม่ จากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่าสมองของเรามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้เรียกว่า นิวโรพาสติกซิตี้ (Neuroplasticity)จากการค้นหานี้ทําให้มีแนวทางการแก้ปัญหาแบบใหม่ที่สามารถควบคุมสมรรถนะและรักษา ทางด้านความผิดปกติด้านจิตวิทยาและอาการอื่นๆ
ความเชี่ยวชาญและความสำเร็จของเรา
การเรียกคืนฟังก์ชั่นการทํางานของสมองโดย นิวโรฟี ดแบค สามารถบรรเทาความ หลากหลายใหญ่ๆจากปัญหาของร่างกายและปัญหาด้านอารมณ์ รูปแบบการนอนจะดีขึ้น และจะมีความกระตือรือร้นมากขึ้น ระหว่างวัน จะทําให้อารมณ์ดีขึ้น มีความมั่นใจ สมาธิ และศักยภาพของสมองดีขึ้นอย่างชัดเจน ในระหว่างเทรนสมองเราจะเฉพาะเจาะจง พารามิเตอร์ของ EEG เช่น คลื่นส่งของสมอง ,การสื่อสารของสมอง และระยะการทํางาน แสดงกลับเป็ นรายบุคคล พารามิเตอร์เหล่านี้จะแทนกิจกรรมต่างๆของระบบสมอง ส่วนกลาง(CNS)ภายในส่วนต่างๆของสมองและโครงข่ายของสมอง การเทรนด้วยนิวโร ฟี ดแบคไม่เป็ นการรุกรานสมองอย่างแน่นอนและจะมีผลต่อร่างกายภายนอก ช่วยให้เป็น รากฐานที่แข็งแรงในการรับมือกับปัญหา ลองวาดภาพดู ว่าสมองของเรามีความสามารถใน การเรียนรู้และปรับได้
อาการ
สมาธิสั้น
ติดสารเสพติด
การจัดการกับอารมณ์โกรธ
ความกังวล,ความหวาดกลัว
ออทิสซึ่ม
อารมณ์สองขั้ว
- 07
อาการบาดเจ็บที่สมอง
- 08
อาการเจ็บปวดตามร่างกาย
- 09
อาการซึมเศร้า
- 10
Dyslexia
- 11
อาการลมชัก
- 12
กลุ่มอาการของโรค Fibromyalgia
- 13
นอนไม่หลับ
- 14
ดาวน์ซินโดรม
- 15
สูญเสียความจํา
- 16
ไมเกรน
- 17
ย้ำคิดย้ำทำ/อาการกระตุก
- 18
พากินสัน
- 19
อาการเครียด/สภาวะซึมเศร้าหลังหลอดเลือดสมองมีปัญหา/อาการสะเทือนใจอย่างรุนแรง
- 20
โรคจิตเภท
- 21
ปัญหาจากการนอน
- 22
โรคหลอดเลือดในสมอง
- 24
อัลไซเมอร์